คำอธิบายรายวิชา
ชื่อวิชา ศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เวลา 2 ชั่วโมง / สัปดาห์
จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2
คำอธิบายรายวิชา
ดนตรี การเปรียบเทียบองค์ประกอบในงานศิลปะ และการใช้องค์ประกอบในการสร้างสรรค์งานดนตรีและศิลปะแขนงอื่นเทคนิคที่ใช้ในการสร้างสรรค์งานดนตรีและศิลปะแขนงอื่น เทคนิคและการแสดงออกในการขับร้องและบรรเลงดนตรีเดี่ยวและรวมวง ในอัตราจังหวะ ๒ และ ๔ ๔ ๔ การประพันธ์เพลงในอัตราจังหวะ ๒ และ ๔ การเลือกใช้องค์ประกอบในการสร้างสรรค์บทเพลงการเลือกจังหวะเพื่อสร้างสรรค์
บทเพลงการเรียบเรียงทำนองเพลง การเปรียบเทียบความแตกต่างของบทเพลงสำเนียงอัตราจังหวะรูปแบบบทเพลงการประสานเสียงเครื่องดนตรีที่บรรเลง๔ ๔ อิทธิพลของดนตรีอิทธิพลของดนตรีต่อบุคคลอิทธิพลของดนตรีต่อสังคม การจัดการแสดงดนตรีในวาระต่าง ๆการเลือกวงดนตรีการเลือกบทเพลงการเลือกและจัดเตรียมสถานที่การเตรียมบุคลากรการเตรียมอุปกรณ์เครื่องมือการจัดรายการแสดง ประวัติดนตรีไทยยุคสมัยต่าง ๆประวัติดนตรีตะวันตกยุคสมัยต่าง ๆ ปัจจัยที่ทำให้งานดนตรีได้รับการยอมรับ
นาฏศิลป์ องค์ประกอบของบทละคร และโครงเรื่องตัวละครและการวางลักษณะนิสัยของตัวละครความคิดหรือแก่นของเรื่องบทสนทนาภาษาท่าหรือภาษาทางนาฏศิลป์ภาษาท่าที่มาจากธรรมชาติภาษาท่าที่มาจากการประดิษฐ์ รำวงมาตรฐาน รูปแบบการแสดงการแสดงเป็นหมู่การแสดงเดี่ยวการแสดงละครการแสดงเป็นชุดเป็นตอนการประดิษฐ์ท่ารำและท่าทางประกอบการแสดงความหมายความเป็นมาท่าทางที่ใช้ในการประดิษฐ์ท่ารำองค์ประกอบนาฏศิลป์จังหวะทำนองการเคลื่อนไหวอารมณ์และความรู้สึกภาษาท่า นาฎยศัพท์รูปแบบของการแสดงการแต่งกายวิธีการเลือกการแสดงประเภทของงานขั้นตอนประโยชน์และคุณค่าของการแสดงละครกับชีวิต
ดนตรี
ตัวชี้วัด ศ 2.1 ม.3 / 1 – 7
ศ 2.2 ม.3 / 1 – 2
นาฏศิลป์
ตัวชี้วัด ศ 3.1 ม.3 / 1 - 7
ศ 3.2 ม.3 / 1 – 3
เสนีย์ ขันขวา
ผู้สอน
ทองทวี ปัชชาดี
ผู้สอน
วัชระ พรมแพง
ผู้สอน
วิยะดา พีรัตน์
ผู้สอน
ญาธิดา ภักดิ์วาปี
ผู้สอน
ธนูพิษ มานะจักร์
ผู้สอน
เพ็ญประภา ฤทธิธรรม
ผู้สอน
ภากร ศิษยศาสตร์
ผู้สอน
มณฑลี สิงหพงศ์
ผู้สอน
วัชรพงศ์ สิทธิมาตย์
ผู้สอน
จันทิมา อุตลา
ผู้สอน
อรนิจ แผ้วชมภู
ผู้สอน
จิราภรณ์ ไชยวังราษฏร์
ผู้สอน